การพัฒนาชุมชนเชิงพื้นที่ (Area-Based and Community Engagement)

มุ่งเน้นการสร้าง และพัฒนาบุคลากรที่มีทักษะสูงตามความต้องการของท้องถิ่น และพัฒนาท้องถิ่นด้วยองค์ความรู้และนวัตกรรม

ความคาดหวังต่อผลลัพธ์ (Key Results)

มีองค์ความรู้ และนวัตกรรมที่สามารถนําไปพัฒนาพื้นที่โดยเน้นการกระจายรายได้ และลดความเหลื่อมลํ้าของประเทศ

สร้างบัณฑิตที่มีทักษะสูงตอบโจทย์การพัฒนาพื้นที่หรือท้องถิ่น

พัฒนาบุคลากรในพื้นที่หรือท้องถิ่น

พัฒนาวิสาหกิจชุมชนให้มีทักษะการบริหารจัดการ การหาตลาดตลอดจนการสร้างอาชีพอย่างยั่งยืน

ตัวชี้วัดของผลการดําเนินงาน 8 ด้าน

ผลการดําเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา
อัตราการได้งานทําในพื้นที่หรือภูมิภาคของบัณฑิต

การผลิตบัณฑิตที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม

การพัฒนาเชิงพื้นที่

การให้บริการวิชาการ การอนุรักษ์และพัฒนาศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาของท้องถิ่น ที่สอดคล้องกับความต้องการและความจําเป็นในการแก้ไขปัญหาและสร้างความเข้มแข็งให้กับสังคมและชุมชนในพื้นที่ (Local Need)

การมีส่วนร่วมของบุคคลหรือหน่วยงานในชุมชน พื้นที่ หรือภูมิภาค

การมีส่วนร่วมของบุคคล ชุมชน หรือ ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม

ความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษา ชุมชนและสังคม

ความรับผิดชอบต่อสังคมของสถาบันอุดมศึกษา

ศักยภาพของสถาบันอุดมศึกษา
ความสอดคล้องของหลักสูตร

การเรียนการสอนที่มีหลักสูตรตอบสนองต่อการพัฒนาเชิงพื้นที่

การวิจัยและบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาในพื้นที่ภูมิภาค

การมีส่วนร่วมในการพัฒนาเชิงพื้นที่และภูมิภาค

การมีส่วนร่วมของสังคมและชุมชน

สัดส่วนจํานวนหลักสูตรที่เปิดโอกาสให้ชุมชน ปราชญ์ชุมชน ผู้ใช้บัณฑิต องค์กร หรือหน่วยงานในพื้นที่ ได้มีโอกาสการกําหนดทิศทางการดําเนินงานในการสอน การบริหาร เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของสถาบันอุดมศึกษาในพื้นที่ ภูมิภาคที่สามารถนําไปสู่การพัฒนาสังคมและชุมชนในพื้นที่ ภูมิภาค

การบูรณาการงบประมาณจากภาครัฐและเอกชนในการดําเนินงานเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคมในพื้นที่

การเป็นพันธมิตรเชิงกลยุทธ์ คือ การสนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐและเอกชนในการดําเนินงานเพื่อพัฒนาชุมชน และสังคมในพื้นที่